หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา                         มหาวิทยาลัยแม่โจ้

วิทยาเขต/คณะ                               วิทยาลัยบริหารศาสตร์

 

  1. ชื่อหลักสูตร

         ภาษาไทย          :  หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

         ภาษาอังกฤษ      :  Bachelor of Political Science Program in Political Science

  1. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

    ชื่อเต็ม (ภาษาไทย)        :  รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)

    ชื่อย่อ  (ภาษาไทย)        :  ร.บ. (รัฐศาสตร์)

    ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ)     :  Bachelor of Political Science (Political Science)

    ชื่อย่อ  (ภาษาอังกฤษ)     :  B.Pol.Sc. (Political Science)

  1. วิชาเอก ไม่มี
  2. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร   จำนวน 135  หน่วยกิต
  1. รูปแบบของหลักสูตร
    • รูปแบบ     เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปีทางวิชาการ
    • ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ
    • การรับเข้าศึกษา  รับนักศึกษาทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีพื้นความรู้ภาษาไทย
    • ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัย ที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
    • การให้ปริญญากับผู้สำเร็จการศึกษา    ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
  1. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตร
  • หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ปรับปรุงจากหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556
  • กำหนดการเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562
  • สภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ 10/2561 วันที่ 24 พฤศจิกายน 2561

 

  1. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

      หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2564

  1. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

8.1 อาชีพ  นักบริหารภาครัฐ นักปกครอง นักการเมือง นักบริหารเอกชน นักธุรกิจ การประกอบอาชีพอิสระ

8.2 ตำแหน่ง ปลัดอำเภอ นายอำเภอ ปลัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักพัฒนาชุมชน/เจ้าหน้าที่ประสานงาน/ผู้ประสานงานโครงการ

                เจ้าหน้าที่บุคคล เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ผู้จัดการ / ผู้ช่วยผู้จัดการ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น

                ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน กำนัน สารวัตรกำนัน ผู้ประกอบการ/เจ้าของกิจการ  นักเคลื่อนไหวทางสังคม

                ครู อาจารย์  นักวิจัย ผู้ช่วยนักวิจัย

  1. ชื่อ ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ที่

ตำแหน่งทางวิชาการ

ชื่อ สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจาก

พ.ศ.

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายวินิจ ผาเจริญ

Ph.D.

Political Science

Banaras Hindu University, India.

2557

 

 

 

ร.ม.

การเมืองการปกครอง

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2551

 

 

 

ศน.บ.

รัฐศาสตร์การปกครอง

มหาวิทยาลัยมหามกุฎ

ราชวิทยาลัย

2548

2

อาจารย์

นายรุจาดล นันทชารักษ์

ปร.ด.

บริหารศาสตร์   (การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2559

 

 

 

รป.ม.

รัฐประศาสนศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2545

 

 

 

ร.บ.

รัฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2542

3

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นางสาวศราภา ศุทรินทร์

ปร.ด. บริหารศาสตร์-การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2553

 

 

 

น.ม. กฎหมายระหว่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544

 

 

 

น.บ. นิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2539

4

อาจารย์

นางสาวนารีวรรณ

ร.ม.

การปกครอง

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2550

 

 

กลิ่นรัตน์

ร.บ.

รัฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2543

 

 

 

 

 

 

 

5

อาจารย์

นายนนท์ น้าประทานสุข
Ph.D. Asia-Pacific Studies National Chengchi University, Taiwan. 2557

 

 

 

M.P.A. Public Administration University of New Haven, U.S.A. 2546

 

 

 

ศศ.บ. ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2544

  

  1. สถานที่จัดการเรียนการสอน

10.1  อาคารเทพ พงษ์พาณิช วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่

10.2  อาคารเรียนรวมต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่

11. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1) สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญ สายศิลป์และสายวิทย์ หรือเทียบเท่า ที่ผ่านการสอบคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

    หรือผ่านการคัดเลือก ตามหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 

2) เป็นผู้มีคุณสมบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรีตามระเบียบและประกาศอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องโดยอนุโลม

12. ค่าธรรมเนียมการศึกษา

13. โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร

 

 

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

30

หน่วยกิต

    - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

หน่วยกิต

    - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

6

หน่วยกิต

    - กลุ่มวิชาภาษา

12

หน่วยกิต

    - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์  

6

หน่วยกิต

2) หมวดวิชาเฉพาะ

90

หน่วยกิต

    - กลุ่มวิชาแกน

24

หน่วยกิต

    - กลุ่มวิชาเอกบังคับ

51

หน่วยกิต

    - กลุ่มวิชาเอกเลือก

15

หน่วยกิต

3) หมวดวิชาเลือกเสรี

6

หน่วยกิต

4) หมวดวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

9

หน่วยกิต

14. รายวิชาในหลักสูตร 

 

 

3.1.3

รายวิชาในหลักสูตร

 

 

 

 

 

 

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

 

1)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                  

        30 หน่วยกิต

 

 

1.1 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

          6 หน่วยกิต

 

 

เลือก 2 รายวิชาจากรายวิชาต่อไปนี้

 

 

 

กช 321

เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน

3

(2-2-5)

 

CM 321

Sufficiency Economy and Sustainable Development

 

 

 

ศท 021

สังคมศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

3

(3-0-6)

 

GE 021

Social Sciences in Everyday Life

 

 

 

ศท 022

อารยธรรมโลก

3

(3-0-6)

 

GE 022

World Civilization

 

 

 

ศท 104

มนุษย์และสิ่งแวดล้อม

3

(3-0-6)

 

GE 104

Man and Environment

 

 

 

ศท 302

สังคมและวัฒนธรรมไทย 

3

(3-0-6)

 

GE 302

Thai Society and Culture

 

 

 

ศศ 101

เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิตประจำวันและการประกอบการ

3

(3-0-6)

 

EC 101

Economics in Daily Life and Operation

 

 

 

รศ 142

อาเซียนศึกษา

3

(2-2-5)

 

PO 142

ASEAN Studies

 

 

 

1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

6  หน่วยกิต

 

 

เลือก 2 รายวิชาจากรายวิชาต่อไปนี้

 

 

 

ศท 011

มนุษย์กับความงามทางศิลปะ

3

(3-0-6)

 

GE 011

Man and Arts Appreciation

 

 

 

ศท 012

จิตวิทยากับพฤติกรรมมนุษย์

3

(3-0-6)

 

GE 012

Psychology and Human Behavior

 

 

 

ศท 013

สุขภาพเพื่อการดำรงชีวิต

3

(1-4-4)

 

GE 013

Health of Life

 

 

 

ศท 180

ศิลปะกับความคิดสร้างสรรค์

3

(3-0-6)

 

GE 180

Art and Creative Thinking

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

 

ศท 304

ศาสตร์และศิลป์แห่งปัญญาชน

3

(2-2-5)

 

GE 304

Liberal Art of Intellectuals

 

 

 

ศท 305

ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของล้านนา

3

(3-0-6)

 

GE 305

History and Development of Lanna

 

 

 

รศ 141

การต่อต้านการทุจริต

3

(2-2-5)

 

PO 141

Anti-Corruption

 

 

 

 

 

 

 

 

1.3 กลุ่มวิชาภาษา

12 หน่วยกิต

 

ศท 031

การใช้ภาษาไทย

3

(1-4-4)

 

GE 031

Thai Language Usage

 

 

 

ศท 141

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1

3

(2-2-5)

 

GE 141

Fundamental English 1

 

 

 

ศท 142

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2

3

(2-2-5)

 

GE 142

Fundamental English 2

 

 

 

ศท 245

ภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์ 1

3

(2-2-5)

 

GE 245

English for Social Science 1

 

 

 

 

 

 

 

 

1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์     

6 หน่วยกิต

 

ผษ 100

เกษตรเพื่อชีวิต

3

(3-0-6)

 

AP 100

Agriculture for Life

 

 

 

 

และเลือก 1 วิชา จากรายวิชาต่อไปนี้

 

 

 

วท 101

วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

3

(2-2-5)

 

SC 101

Science for Life

 

 

 

วท 102

การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3

(2-2-5)

 

SC 102

Development of Science and Technology

 

 

 

ศท 014

การสืบค้นสารนิเทศเพื่อการศึกษา

3

(1-4-4)

 

GE 014

Information Searching for Academic Study

 

 

 

วอ 101

วิศวกรรมเบื้องต้นในชีวิตประจำวัน

3

(3-0-6)

 

EI  101

Basic Engineering in Daily Life

 

 

 

วอ 102

นานาสาระเกี่ยวกับอาหารและยา

3

(3-0-6)

 

EI  102

General Aspects of Food and Drug

 

 

 

พง 100

พลังงานสำหรับชีวิตประจำวัน

3

(3-0-6)

 

RE 100

Energy for Daily Life

 

 

 

2)

หมวดวิชาเฉพาะ                                                                            90 หน่วยกิต

 

 

2.1 กลุ่มวิชาแกน

24 หน่วยกิต

 

รศ  101

รัฐศาสตร์เบื้องต้น

3

(2-2-5)

 

PO 101

Introduction to Political Science

 

 

 

รศ  102

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น

3

(2-2-5)

 

PO 102

Introduction to International Relations

 

 

 

รศ  103

ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น

3

(2-2-5)

 

PO 103

Introduction to Political Philosophy

 

 

 

รศ  104

หลักพื้นฐานแห่งกฎหมาย

3

(3-0-6)

 

PO 104

Fundamental Legal Principles

 

 

 

รศ  201

รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง

3

(2-2-5)

 

PO 201

Constitution and Political Institution

 

 

 

รศ  202

ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองไทย

3

(2-2-5)

 

PO 202

Thai Government and Politics in Historical Development

 

 

 

รป  141

รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น

3

(3-0-6)

 

PA  141

Introduction to Public Administration

 

 

 

 

และเลือกเรียนอีก 3 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

 

 

 

ศป  241

การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 1 และ

1

(0-2-1)

 

LR  241

English Language Practice 1

 

 

 

ศป  242

การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 2 และ

1

(0-2-1)

 

LR  242

English Language Practice 2

 

 

 

ศป  243

การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 3

1

(0-2-1)

 

LR  243

English Language Practice 3

 

 

 

ศท  343

สนทนาภาษาอังกฤษ

3

(2-2-5)

 

GE  343

English Conversation for the Workplace

 

 

 

ศท  348

ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ

3

(2-2-5)

 

GE  348

English for Further Studies and Future Careers

 

 

 

 

2.2 กลุ่มวิชาเอกบังคับ                                                                 51 หน่วยกิต

 

รศ  211

นิเวศวิทยาการเมืองและสิ่งแวดล้อม

3

(2-2-5)

 

PO 211

Political ecology and Environment politics

 

 

 

รศ  212

การเมืองการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น

3

(2-2-5)

 

PO 212

Regional and Local Government and Politics

 

 

 

รศ  213

สังคมวิทยาการเมืองเบื้องต้น

3

(2-2-5)

 

PO 213

Introduction to Political Sociology

 

 

 

รศ  311

พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์และการเลือกตั้ง

3

(2-2-5)

 

PO 311

Political Parties, Interest Groups, and Elections

 

 

 

รศ  312

การเมืองและการปกครองเปรียบเทียบ

3

(2-2-5)

 

PO 312

Comparative Politics and Government

 

 

 

รศ  313

ภาวะผู้นำกับการบริหารความขัดแย้ง

3

(2-2-5)

 

PO 313

Leadership and Conflict Management

 

 

 

รศ  314

การวิเคราะห์ข้อมูลทางรัฐศาสตร์

3

(2-2-5)

 

PO 314

Political Data Analysis

 

 

 

รศ  315

การวิจัยทางรัฐศาสตร์

3

(2-2-5)

 

PO 315

Research in Political Science

 

 

 

รศ  321

อาเซียนในบริบทของภูมิภาคและโลก

3

(2-2-5)

 

PO 321

ASEAN in Regional and Global Context

 

 

 

รศ  322

มหาอำนาจและการเมืองโลก

3

(2-2-5)

 

PO 322

Great Power in World Politics

 

 

 

รศ  331

กฎหมายปกครอง

3

(3-0-6)

 

PO 331

Administrative Law

 

 

 

รศ  411

สัมมนาปฏิบัติการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3

(1-4-4)

 

PO 411

Seminar in Political Science Research Practice

 

 

 

รศ 412

การพัฒนาการเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย

3

(2-2-5)

 

PO 412

Thai local politics and government Development

 

 

 

รศ 413

ประชาสังคมและการเมืองท้องถิ่น

3

(2-2-5)

 

PO 413

Civil Society and Local Politics

 

 

 

รป 321

นโยบายสาธารณะ 1 

3

(3-0-6)

 

PA 321

Public Policy 1

 

 

 

รป 331

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐและเอกชน

3

(3-0-6)

 

PA 331

Human Resource Management in Public and Private Sectors

 

 

 

รป 351

การคลังและงบประมาณสาธารณะ

3

(3-0-6)

 

PA 351

Public Finance and Budgeting

 

 

 

 

2.3 กลุ่มวิชาเอกเลือก                                                                  15 หน่วยกิต

 

รศ  316

หลักปรัชญาพื้นฐาน

3

(2-2-5)

 

PO 316

Basic Principle of Philosophy

 

 

 

รศ  317

ลัทธิเศรษฐกิจและการเมือง

3

(2-2-5)

 

PO 317

Economic and Political Ideologies

 

 

 

รศ  318

การสื่อสารและการจัดการทางการเมือง

3

(2-2-5)

 

PO 318

Political Communication and Management

 

 

 

รศ  319

พลเมืองศึกษา

3

(2-2-5)

 

PO 319

Civil Studies

 

 

 

รศ  414

การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ

3

(2-2-5)

 

PO 414

Comparative Local Governments

 

 

 

รศ  415

ปรัชญาการเมืองตะวันออก

3

(2-2-5)

 

PO 415

Eastern Political Philosophy

 

 

 

รศ  323

องค์การระหว่างประเทศ

3

(2-2-5)

 

PO 323

International Organizations

 

 

 

รศ  324

ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3

(2-2-5)

 

PO 324

International Relations Theory

 

 

 

รศ  331

กฎหมายอาญาหลักทั่วไป

3

(3-0-6)

 

PO 332

Criminal Law : General Principles

 

 

 

รศ  333

กฎหมายอาญาภาคความผิด

3

(3-0-6)

 

PO 333

Criminal Law : Specific Offences

 

 

 

รศ  334

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3

(3-0-6)

 

PO 334

Civil and Commercial Law

 

 

 

รศ  335

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3

(3-0-6)

 

PO 335

Criminal Procedure

 

 

 

รศ  336

กฎหมายลักษณะพยาน

3

(3-0-6)

 

PO 336

Evidence Law

 

 

 

 

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

 

รศ  416

ศาสนากับการเมือง

3

(2-2-5)

 

PO 416

Religion and Politics

 

 

 

รศ  417

เพศสภาพกับการเมือง

3

(2-2-5)

 

PO 417

Gender and Politics 

 

 

 

รศ  418

การศึกษาหัวข้อสนใจทางรัฐศาสตร์

3

(2-2-5)

 

PO 418

Selected Issues of Political Science

 

 

 

รศ  421

ความมั่นคงและสันติภาพศึกษา

3

(2-2-5)

 

PO 421

Peace and Security Studies

 

 

 

รศ  422

ความสัมพันธ์และนโยบายต่างประเทศของไทย

3

(2-2-5)

 

PO 422

Thai Foreign Relations and Policies

 

 

 

รศ  423

เหตุการณ์โลกร่วมสมัย

3

(2-2-5)

 

PO 423

Contemporary world affairs

 

 

 

 

 

 

3)

หมวดวิชาเลือกเสรี                                                                       6 หน่วยกิต

 

                 ให้เลือกเรียนรายวิชาอื่นที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

 

 

4)

หมวดวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ                                                       9 หน่วยกิต

 

ให้เลือกรายวิชาต่อไปนี้ 1 รายวิชา

บศ 497

สหกิจศึกษา                                                         9 (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์)

AS 497

Co-operative Education

 

 

บศ 498

การเรียนรู้อิสระ                                                    9 (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์)

AS 498

Independent Study

 

 

บศ 499

การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรมต่างประเทศ           9 (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์)

AS 499

Oversea Study or Training or Internship

 

 

 ทั้งนี้ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มวิชาเอกเลือก และ/หรือกลุ่มวิชาแกนจากหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

15. แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่  1

รหัสวิชา

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

ศท xxx

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ วิชาที่ 1

3

......

......

......

ศท 031

การใช้ภาษาไทย

3

1

4

4

ศท xxx

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ วิชาที่ 1

3

......

......

......

ศท xxx

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ วิชาที่ 1

3

......

......

......

รศ 101

รัฐศาสตร์เบื้องต้น

3

2

2

5

รป 141

รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น

3

3

0

6

รวม

18

......

......

......

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่  2

รหัสวิชา

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

ศท 141

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1

3

2

2

5

ศท xxx

หมวดวิชาศึกษาทั่วไปกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ วิชาที่ 2

3

......

......

......

ศท xxx

หมวดวิชาศึกษาทั่วไปกลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ วิชาที่ 2

3

......

......

......

รศ 102

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น

3

2

2

5

รศ 103

ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น

3

2

2

5

รศ 104

หลักพื้นฐานแห่งกฎหมาย

3

3

0

6

รวม

18

......

......

......

   

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่  1

รหัสวิชา

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

ศท 142

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2

3

2

2

5

ผศ 100

เกษตรเพื่อชีวิต

3

3

0

6

รศ 201

รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง

3

2

2

5

รศ 202

ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองไทย

3

2

2

5

รศ 212

การเมืองการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น

3

2

2

5

xxx

วิชาเลือกเสรี วิชาที่ 1

3

......

......

......

รวม

18

......

......

......

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่  2

รหัสวิชา

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

ศท 245

ภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์ 1

3

2

2

5

รศ 211

นิเวศวิทยาการเมืองและสิ่งแวดล้อม

3

2

2

5

รศ 213

สังคมวิทยาการเมืองเบื้องต้น

3

2

2

5

รป 331

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐและเอกชน

3

3

0

6

xxx

วิชาเอกเลือก วิชาที่ 1

3

......

......

......

xxx

วิชาเลือกเสรี วิชาที่ 2

3

......

......

......

รวม

18

......

......

......

  

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่  1

รหัสวิชา

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

xxx

หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาแกน (วิชาภาษาอังกฤษ)

3

......

......

......

รศ 311

พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และการเลือกตั้ง

3

2

2

5

รศ 321

อาเซียนในบริบทของภูมิภาค และโลก

3

2

2

5

รศ 313

ภาวะผู้นำกับการบริหารความขัดแย้ง

3

2

2

5

รศ 331

กฎหมายปกครอง

3

3

0

6

รป 321

นโยบายสาธารณะ 1

3

2

2

5

รวม

18

......

......

......

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่  2

รหัสวิชา

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รศ 312

การเมืองและการปกครองเปรียบเทียบ

3

2

2

5

รศ 314

การวิเคราะห์ข้อมูลทางรัฐศาสตร์

3

2

2

5

รศ 315

การวิจัยทางรัฐศาสตร์

3

2

2

5

รศ 322

มหาอำนาจและการเมืองโลก

3

2

2

5

รป 351

คลังและงบประมาณสาธารณะ

3

3

0

6

xxx

วิชาเอกเลือก วิชาที่ 2

3

......

......

......

รวม

18

......

......

......

  

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่  1

รหัสวิชา

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รศ 411

สัมมนาปฏิบัติการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3

1

4

4

รศ 412

การพัฒนาการเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย

3

2

2

5

รศ 413

ประชาสังคมและการเมืองท้องถิ่น

3

2

2

5

xxx

วิชาเอกเลือก วิชาที่ 3

3

......

......

......

xxx

วิชาเอกเลือก วิชาที่ 4

3

......

......

......

xxx

วิชาเอกเลือก วิชาที่ 5

3

......

......

......

รวม

18

......

......

......

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่  2

รหัสวิชา

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

บศ 497

สหกิจศึกษา  หรือ

9

0

ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์

0

บศ 498

การเรียนรู้อิสระ  หรือ

บศ 499

การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรมต่างประเทศ

รวม

9

ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์

 หมายเหตุ :    

  • แผนวิชาการเรียนในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ของแต่ละชั้นปี อาจมีการสลับหรือทดแทนกันได้ตามความเหมาะสม
  • ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที่ 2 สามารถปรับเปลี่ยนสลับกันได้ตามความเหมาะสม โดยความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

16. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ และได้รับการเสนอชื่อให้รับปริญญา จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้

  • ต้องเรียนรายวิชาต่าง ๆ ให้ครบตามหลักสูตรและเงื่อนไขของสาขาวิชานั้น และต้องไม่มีรายวิชาใดที่ได้รับอักษร I และหรือ Op
  • ต้องใช้เวลาเรียนไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
  • ต้องได้รับแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมดทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนไม่น้อยกว่า 2.00
  • ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ในกรณีที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยกำหนดได้ให้อยู่ในดุลยพินิจของอธิการบดี
  • นักศึกษาทุกคนต้องเข้าทดสอบวัดความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และผ่านเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
  • นักศึกษาทุกคนต้องเข้าทดสอบวัดสมิทธิภาพทั่วไปทางภาษาอังกฤษ และผ่านเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
  • ไม่มีหนี้สินใดๆ ต่อมหาวิทยาลัย และหรือหนี้สินอื่นๆ ที่มหาวิทยาลัยรับรู้

17. การรับรองคุณวุฒิ

      17.1 การรับรองคุณวุฒิเพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จากสำนักงาน ก.ค.ศ.

      17.2 การรับรองคุณวุฒิ สำนักงาน ก.พ.


ปรับปรุงข้อมูล 1/6/2566 15:15:53
, จำนวนการเข้าดู 625