หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567

  1. รหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร

          รหัสหลักสูตร         : 25470131103887

          ชื่อหลักสูตร

                         ภาษาไทย          : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์

                        ภาษาอังกฤษ      : Doctor of Philosophy Program in Administrative Science

  1. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

                        ชื่อเต็ม ภาษาไทย             :         ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (บริหารศาสตร์)

                        ชื่อย่อ ภาษาไทย              :         ปร.ด. (บริหารศาสตร์)

                        ชื่อเต็ม ภาษาอังกฤษ          :         Doctor of Philosophy (Administrative Science)

                        ชื่อย่อ ภาษาอังกฤษ           :         Ph.D. (Administrative Science)

       3.วิชาเอก        บริหารศาสตร์

                  โดยมีจุดเน้นของการศึกษาค้นคว้าวิจัยดุษฎีนิพนธ์โดยใช้ศาสตร์ด้านการบริหารเป็นแกนกลางในการบริหารงานองค์การและกิจการสาธารณะเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการบริหารโดยนักศึกษาสามารถเลือกจัดทำดุษฎีนิพนธ์ในประเด็นด้านการบริหารอุตสาหกรรมบริการ (Hospitality Administration) การบริหารการพัฒนาสุขภาวะ (Health Related Development Administration) การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน (Government and Non Government Administration)  การบริหารเทคโนโลยี (Technology Administration) และการบริหารการเกษตร ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม (Agriculture, Resources and Environmental Administration)

  1. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

                แผน 1 แผน 1.1   48 หน่วยกิต

                แผน 2 แผน 2.1   48 หน่วยกิต

  1. รูปแบบของหลักสูตร
    • รูปแบบ  หลักสูตรระดับปริญญาเอก 3 ปี
    • ภาษาที่ใช้      หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    • การรับเข้าศึกษา  รับนักศึกษาทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
    • ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่น        เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัย ที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
    • การให้ปริญญากับผู้สำเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
    • กำหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2567

      6. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

             6.1 อาจารย์ บุคลากรทางวิชาการและวิจัย

             6.2 นักบริหาร ผู้บริหารหน่วยงาน เจ้าของกิจการ

      7. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

             สภามหาวิทยาลัย  ให้ความเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตร ในการประชุม  ครั้งที่ 4/2567 เมื่อวันที่  1 มิถุนายน 2567

      8. โครงสร้างหลักสูตร

  • แผน 1 แผน 1
    1. วิชาที่ไม่นับหน่วยกิต (9)      หน่วยกิต
    2. ดุษฎีนิพนธ์ 48      หน่วยกิต

                 รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร           48      หน่วยกิต

  • แผน 2 แผน 1
    1. วิชาที่ไม่นับหน่วยกิต (9)      หน่วยกิต
    2. วิชาเอก 12      หน่วยกิต
    3. ดุษฎีนิพนธ์ 36      หน่วยกิต

                 รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร           48      หน่วยกิต

        9. แผนการศึกษา

             9.1  หลักสูตร แผน 1 แผน 1.1

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่  1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

31406001

การวิจัยเชิงปริมาณทางการบริหารขั้นสูง

(3)

(2)

(2)

(5)

31406002

สัมมนา 1

(1)

(0)

(2)

(1)

31406008

ดุษฎีนิพนธ์ 1

6

0

18

0

รวม

6

0

18

0

 

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่  2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

31406003

สัมมนา 2

(1)

(0)

(2)

(1)

31406009

ดุษฎีนิพนธ์ 2

6

0

18

0

รวม

6

0

18

0

 

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่  1

 

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

31406004

สัมมนา 3

(1)

(0)

(2)

(1)

31406010

ดุษฎีนิพนธ์ 3

6

0

18

0

รวม

6

0

18

0

 

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่  2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

31406005

สัมมนา 4

(1)

(0)

(2)

(1)

31406011

ดุษฎีนิพนธ์ 4

6

0

18

0

รวม

6

0

18

0

  

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่  1

 

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

31406006

สัมมนา 5

(1)

(0)

(2)

(1)

31406012

ดุษฎีนิพนธ์ 5

12

0

36

0

รวม

12

0

36

0

 

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่  2

 

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

31406007

สัมมนา 6

(1)

(0)

(2)

(1)

31406013

ดุษฎีนิพนธ์ 6

12

0

36

0

รวม

12

0

36

0

 

หมายเหตุ : (   )  เป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตและมีการประเมินผลการเรียนเป็นระบบ S และ U

             9.2  หลักสูตร แผน 2 แผน 2.1

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่  1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

 

31406001

การวิจัยเชิงปริมาณทางการบริหารขั้นสูง

(3)

(2)

(2)

(5)

 

31406002

สัมมนา 1

(1)

(0)

(2)

(1)

 

31406014

ทฤษฎีและแนวคิดการบริหารและองค์การ

3

2

2

5

 

31406016

การวิเคราะห์สังคมเพื่อการบริหาร

3

2

2

5

 

รวม

6

4

4

10

 

 

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่  2

 

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

31406003

สัมมนา 2

(1)

(0)

(2)

(1)

31406015

การวิจัยเชิงคุณภาพทางการบริหารขั้นสูง

3

2

2

5

31406008

ดุษฎีนิพนธ์ 1

6

0

18

0

รวม

9

2

20

5

 

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่  1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

 

31406004

สัมมนา 3

(1)

(0)

(2)

(1)

 

31406017

การวิเคราะห์องค์การและการบริหาร

3

2

2

5

 

31406009

ดุษฎีนิพนธ์ 2

6

0

18

0

 

รวม

9

2

20

5

 

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่  2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

 

31406005

สัมมนา 4

(1)

(0)

(2)

(1)

 

31406010

ดุษฎีนิพนธ์ 3

6

0

18

0

 

รวม

6

0

18

0

 

 

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่  1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

 

31406006

สัมมนา 5

(1)

(0)

(2)

(1)

 

31406011

ดุษฎีนิพนธ์ 4

6

0

18

0

 

รวม

6

0

18

0

 

 

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่  2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

31406007

สัมมนา 6

(1)

(0)

(2)

(1)

31406012

ดุษฎีนิพนธ์ 5

12

0

36

0

รวม

12

0

36

0

 

หมายเหตุ : (   )  เป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตและมีการประเมินผลการเรียนเป็นระบบ S และ U

10.  อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ที่

ตำแหน่งทาวิชาการ

ชื่อ - สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษา

จาก

ปีพ.ศ.

1

รองศาสตราจารย์

นายเฉลิมชัย ปัญญาดี

ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต

ประชากรศึกษา

มหาวิทยาลัยมหิดล

2537

 

 

 

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

ประชากรศึกษา

มหาวิทยาลัยมหิดล

2531

 

 

 

วิทยาศาสตรบัณฑิต

จิตวิทยา

มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่

2527

 

 

 

ประกาศนียบัตรชั้นสูง

การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน

สถาบันพระปกเกล้า

2550

2

รองศาสตราจารย์

นางบงกชมาศ

เอกเอี่ยม

Doctor of Philosophy

 

Sociology

 

Mississippi State University, U.S.A.

2544

 

 

 

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต

สังคมวิทยา

 

มหาวิทยาลัยธรรม

ศาสตร์

2532

 

 

 

วิทยาศาสตรบัณฑิต

จิตวิทยา

มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

2528

3

อาจารย์

นายสมคิด

แก้วทิพย์

ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต

การวางแผนและพัฒนาชนบท

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2541

 

 

 

เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต

เศรษฐศาสตร์สหกรณ์

สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้

2532

 

 

 

เทคโนโลยีการเกษตรบัณฑิต

บริหารธุรกิจเกษตร

สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้

2527

11. อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร 

ที่

ตำแหน่งทางวิชาการ

ชื่อ - สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษา

จาก

ปีพ.ศ.

1

รองศาสตราจารย์

นายเฉลิมชัย ปัญญาดี

ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต

ประชากรศึกษา

มหาวิทยาลัยมหิดล

2537

 

 

 

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

ประชากรศึกษา

มหาวิทยาลัยมหิดล

2531

 

 

 

วิทยาศาสตรบัณฑิต

จิตวิทยา

มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่

2527

 

 

 

ประกาศนียบัตรชั้นสูง

การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน

สถาบันพระปกเกล้า

2550

2

รองศาสตราจารย์

นางบงกชมาศ

เอกเอี่ยม

Doctor of Philosophy

 

Sociology

 

Mississippi State University, U.S.A.

2544

 

 

 

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต

สังคมวิทยา

 

มหาวิทยาลัยธรรม

ศาสตร์

2532

 

 

 

วิทยาศาสตรบัณฑิต

จิตวิทยา

มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

2528

3

รองศาสตราจารย์

นายวินิจ

ผาเจริญ

Doctor of Philosophy

Political Science

Banaras Hindu University, India.

2557

 

 

 

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต

การเมืองการปกครอง

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2551

 

 

 

ศาสนศาสตรบัณฑิต

รัฐศาสตร์การปกครอง

มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย

2548

4

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายสุริยจรัส

เตชะตันมีนสกุล

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

บริหารศาสตร์ (การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2554

 

 

 

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

เศรษฐศาสตร์เกษตร

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2542

 

 

 

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

รัฐประศาสนศาสตร์

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2553

 

 

 

วิทยาศาสตรบัณฑิต

เศรษฐศาสตร์ สหกรณ์

สถาบันเทคโนโลยี      การเกษตรแม่โจ้

2539

5

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายนนท์    น้าประทานสุข

Doctor of Philosophy

Asia Pacific Studies

National Chengchi University, Taiwan.

2557

 

 

 

Master of Public Administration

Public Administration

University of New Haven, U.S.A.

2546

 

 

 

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ประวัติศาสตร์

มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่

2544

6

อาจารย์

นายสมคิด

แก้วทิพย์

ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต

การวางแผนและพัฒนาชนบท

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2541

 

 

 

เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต

เศรษฐศาสตร์สหกรณ์

สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้

2532

 

 

 

เทคโนโลยีการเกษตรบัณฑิต

บริหารธุรกิจเกษตร

สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้

2527

7

อาจารย์

นายพิชญ์

จิตต์ภักดี

Doctor of Philosophy

Public Administration

Universiti Utara Malaysia, Malaysia.

2562

 

 

 

Master of Public Administration

Public Administration

University of Tasmania, Australia.

2553

 

 

 

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

รัฐประศาสนศาสตร์

มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่

2551

8

อาจารย์

นางสาวจริยา โกเมนต์

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

บริหารศาสตร์          (การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2562

 

 

 

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2557

 

 

 

รัฐศาสตรบัณฑิต

รัฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

2562

 

 

 

วิทยาศาสตรบัณฑิต

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่

2554

12. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

      แผน 1 แผน 1.1

  • มีคุณสมบัติตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและระเบียบอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เกี่ยวข้องและบังคับใช้ในขณะนั้น หรือ
  • สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า สาขาวิชาสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ประยุกต์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นโยบายสาธารณะ การบริหาร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรือสาขาวิชาอื่น ๆ มีประสบการณ์การทำงานด้านการบริหารมาไม่น้อยกว่า 5 ปี
  • จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนดีมาก หรือ ปริญญาโทหรือเทียบเท่า
  • จะต้องเป็นผู้ผ่านการทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

      แผน 2 แผน 2.1

  • มีคุณสมบัติตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและระเบียบอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เกี่ยวข้องและบังคับใช้ในขณะนั้น หรือ
  • สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า สาขาวิชาสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ประยุกต์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นโยบายสาธารณะ การบริหาร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรือสาขาวิชาอื่น ๆ
  • จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนดีมาก หรือ ปริญญาโทหรือเทียบเท่า
  • จะต้องเป็นผู้ผ่านการทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

       ทั้งนี้หากผู้สมัครสำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องแต่มิได้เป็นไปตามที่ได้ระบุไว้  ซึ่งเมื่อผ่านการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาได้แล้ว อาจต้องศึกษารายวิชาเพิ่มเติมตามคำแนะนำของคณะกรรมการที่ปรึกษา ตามความเห็นชอบของอาจารย์ประจำหลักสูตร และหากไม่มีพื้นฐานทางด้านการบริหารอาจต้องศึกษารายวิชาเพิ่มเติมตามคำแนะนำของอาจารย์ประจำหลักสูตร

13. ค่าธรรมเนียมการศึกษา เทอมละ 85,000 บาท ระยะเวลาในการเรียน 3 ปี (6 เทอม)

14. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

       แผน 1 แผน 1.1

  • สอบผ่านภาษาอังกฤษตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
  • สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำดุษฎีนิพนธ์เสนอดุษฎีนิพนธ์
  • สอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายจนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ เกณฑ์การวัดผลสัมฤทธิ์ในการสอบประกอบด้วย องค์ความรู้ใหม่ ซึ่งพิจารณาจากข้อความแห่งการริเริ่ม
  • ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศที่คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด อย่างน้อย 2 เรื่อง หรือ
  • ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด อย่างน้อย 1 เรื่อง และเป็นผลงานนวัตกรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เชิงสังคมและเศรษฐกิจ อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือได้รับสิทธิบัตร อย่างน้อย 1 สิทธิบัตร

          กรณีผลงานนวัตกรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ ดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการประเมิน จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในสาขาเดียวกันหรือเกี่ยวข้องอย่างน้อย 3 คน ที่เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ โดยได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษา

       แผน 2 แบบ 2.1

  • ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า
  • สอบผ่านภาษาอังกฤษตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
  • สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์
  • สอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายจนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ เกณฑ์การวัดผลสัมฤทธิ์ในการสอบประกอบด้วย องค์ความรู้ใหม่ซึ่งพิจารณาจากข้อความแห่งการริเริ่ม
  • ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศที่คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด หรือได้รับสิทธิบัตร หรือเป็นผลงานนวัตกรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เชิงสังคมและเศรษฐกิจ อย่างน้อย 1 เรื่อง

           กรณีผลงานนวัตกรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ ดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการประเมินจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในสาขาเดียวกันหรือเกี่ยวข้องอย่างน้อย 3 คน ที่เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ โดยได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษา

15.  ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLOs)

PLO

Learning Outcome Statement

Specific LO

Generic LO

Level

ผลลัพธ์การเรียนรู้ด้าน

1

สามารถประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎี วิเคราะห์ และประเมิน เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการบริหารศาสตร์

 

 

 

Knowledge

 

1.1 สามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีด้านการบริหารเพื่อการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและการพัฒนาองค์การ

?

 

 

E

Knowledge

 

1.2 สามารถวิเคราะห์ความเชื่อมโยงวิธีวิทยาการวิจัยกับการสร้างองค์ความรู้ด้านการบริหาร

?

 

 

 

C

Knowledge

 

1.3 สามารถประเมินความเหมาะสมในการพัฒนากรอบแนวคิดในการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการบริหารศาสตร์

?

 

 

 

C

Knowledge

 

1.4 สามารถออกแบบกระบวนการและกลยุทธ์ในการพัฒนาองค์การให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามเป้าหมายขององค์การ

?

 

 

C

Knowledge

2

สามารถแก้ไขปัญหา เชื่อมโยง และออกแบบการบริหารองค์การให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโดยอาศัยการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในการวิเคราะห์และสื่อสารกับบุคคลอื่น

 

 

 

Skills

 

2.1 สามารถเชื่อมโยงกระบวนการ ขั้นตอนตามวิธีวิทยาการวิจัยกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารอย่างต่อเนื่อง

?

 

 

Nat

Skills

 

2.2 ชำนาญในการถ่ายทอดวิธีวิทยาการวิจัย โดยเฉพาะขั้นตอน  กระบวนการวิจัย และกลยุทธ์การบริหาร สู่ผู้ร่วมงานและเครือข่ายได้อย่างชัดเจน

?

 

 

Nat

 

 

2.3 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองในการเรียนรู้ด้วยตนเองที่เกื้อหนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Education) โดยอาศัยความรู้ทั้งในด้านแนวคิด ทฤษฎี วิธีวิทยาการวิจัย และ  การบูรณาการในการวิเคราะห์ การสัมมนาทางวิชาการ และการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่อย่างต่อเนื่อง

?

 

 

Nat

Skills

 

2.4 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย และการสื่อสารการวิจัย รวมทั้งในการบริหารองค์การ

 

?

 

Nat

Skills

 

 

 

 

 

3

แสดงออกและให้ความสำคัญกับการรับรู้คุณค่า การจัดระบบคุณค่า และการสร้างลักษณะนิสัยที่ให้ความสำคัญกับจริยธรรม

 

 

 

Ethics

 

3.1 การรับรู้คุณค่า การมีจริยธรรมและจริยธรรมในการวิจัย

 

?

Val

Ethics

 

3.2 การปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับขององค์การ ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ มีความรับผิดชอบ

 

?

 

Org

Ethics

 

3.3 มีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่เอื้อประโยชน์แก่พวกพ้อง

 

?

Org

Ethics

4

มีคุณลักษณะผู้นำ และภาวะผู้นำ ทั้งในลักษณะส่วนบุคคลและด้านบริหารศาสตร์ โดยเฉพาะลักษณะการเป็นผู้นำด้านวิชาการและการบริหารองค์การ

 

 

 

Character

 

4.1 แสดงออกถึงคุณลักษณะบุคคลที่เป็นผู้นำที่มีภาวะผู้นำสูง โดยเฉพาะด้านการวิจัยและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

 

?

 

Cha

Character

 

4.2  มุ่งมั่นและให้ความช่วยเหลือเพื่อชี้นำภารกิจด้านการบริหารเพื่อจูงใจให้เกิดการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ขององค์การ

?

 

 

Cha

Character

  

        ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.grad-sas.com

  


ปรับปรุงข้อมูล 12/6/2567 15:29:15
, จำนวนการเข้าดู 0