หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการบริหารสาธารณะ

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา                        มหาวิทยาลัยแม่โจ้

วิทยาเขต/คณะ                              วิทยาลัยบริหารศาสตร์

 

  1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย

:

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการบริหารสาธารณะ

ภาษาอังกฤษ

:

Master of Public Administration Program in Public Administration

 

 

 

  1. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ภาษาไทย)        :   รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารสาธารณะ)

ชื่อย่อ (ภาษาไทย)          :   รป.ม.(การบริหารสาธารณะ)

ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ)      :   Master of Public Administration (Public Administration)  

ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ)       :   M.P.A.(Public Administration)

 

  1. วิชาเอก ไม่มีวิชาเอก

 

  1. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 1       จำนวน  36 หน่วยกิต

แผน ก แบบ ก 2       จำนวน   36 หน่วยกิต

แผน ข                   จำนวน   36 หน่วยกิต

 

  1. รูปแบบของหลักสูตร
    • รูปแบบ          หลักสูตรระดับปริญญาโท 2 ปี
    • ภาษาที่ใช้      หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและ/หรือภาษาอังกฤษ
    • การรับเข้าศึกษา                รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
    • ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่น            เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
    • การให้ปริญญากับผู้สำเร็จการศึกษา      ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
  1. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตร
    • หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562 ปรับปรุงจากหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและการบริหารสาธารณะ พ.ศ. 2558
    • กำหนดเปิดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562
    • สภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ 10/2561 วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
  1. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

      หลักสูตรพร้อมเผยแพร่คุณภาพ และมาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ.2558 ในปีการศึกษา 2563

  1. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

       เป้าหมายของการผลิตมหาบัณฑิตเพื่อให้เป็นนักวิจัย นักบริหารและนักจัดการมืออาชีพที่ดำรงตำแหน่งในองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ทุกระดับ

      ได้แก่ ภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ดังนี้               

  1. ภาครัฐบาล

       1) ข้าราชการ พนักงานราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ และลูกจ้างประจำ ที่ดำรงตำแหน่งในส่วนราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น

       2) พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐ และลูกจ้างในรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนและองค์การในกำกับของรัฐ

       3) นักการเมืองท้องถิ่นและนักการเมืองในระดับประเทศ

  1. ภาคเอกชน

       1) เจ้าของธุรกิจเอกชน

       2) พนักงานหรือลูกจ้างเอกชน

       3) ภาคประชาสังคม

       4) พนักงาน เจ้าหน้าที่ และลูกจ้าง ที่ดำรงตำแหน่งในองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ (Non-Government Organization : NGO) ได้แก่ องค์กรชั่วคราว มูลนิธิ สมาคม  และองค์การระหว่างประเทศ

       5) ผู้นำหมู่บ้านและชุมชนเมืองทุกตำแหน่ง

       6) ผู้นำกลุ่มหรือองค์กรชุมชน

       7) นักบวชในสถาบันหรือองค์กรศาสนา

       8) นักวิจัยและนักวิชาการอิสระ

       9) ผู้ประกอบอาชีพอิสระ

 

 9. โครงสร้างหลักสูตร

  • แผน ก แบบ ก 1

ก. รายวิชาไม่นับหน่วยกิต

(7)

หน่วยกิต

ข. วิทยานิพนธ์

36

หน่วยกิต

รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

36

หน่วยกิต

  • แผน ก แบบ ก 2

ก. รายวิชาไม่นับหน่วยกิต

(7)

หน่วยกิต

ข. หมวดวิชาบังคับ

15

หน่วยกิต

ค. หมวดวิชาเอกเลือก

9

หน่วยกิต

ง. วิทยานิพนธ์

12

หน่วยกิต

รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

36

หน่วยกิต

 

 

 

  • แผน ข

ก. รายวิชาไม่นับหน่วยกิต

(7)

หน่วยกิต

ข. หมวดวิชาบังคับ

15

หน่วยกิต

ค. หมวดวิชาเอกเลือก

15

หน่วยกิต

ง. การค้นคว้าอิสระ

6

หน่วยกิต

รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

36

หน่วยกิต

         ทั้งนี้ไม่รวมหน่วยกิตจากรายวิชาเสริมพื้นฐาน  สำหรับนักศึกษาที่จำเป็นต้องเรียนเพื่อปรับพื้นฐานเพิ่มเติม ส่วนวิชาเอกเลือกสามารถเลือกเรียนรายวิชาในหลักสูตร

หรือรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาทั้งในและนอกสาขาวิชา ซึ่งให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

 10. รายวิชาในหลักสูตร

 

 1) แผน ก แบบ ก 1

ก.

รายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

(7)

หน่วยกิต

 

รป 501

ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติทางรัฐประศาสนศาสตร์

(3)

(2-3-5)

 

PA 501

Research Methodology and Statistics in Public Administration

 

 

 

รป 591

สัมมนา 1

(1)

(0-2-1)

 

PA 591

Seminar 1

 

 

 

รป 592

สัมมนา 2

(1)

(0-2-1)

 

PA 592

Seminar 2

 

 

 

รป 593

สัมมนา 3

(1)

(0-2-1)

 

PA 593

Seminar 3

 

 

 

รป 594

สัมมนา 4

(1)

(0-2-1)

 

PA 594

Seminar 4

 

 

ข.

วิทยานิพนธ์

36

หน่วยกิต

 

รป 691

วิทยานิพนธ์ 1

6

(0-18-0)

 

PA 691

Thesis 1

 

 

 

รป 692

วิทยานิพนธ์ 2

6

(0-18-0)

 

PA 692

Thesis 2

 

 

 

รป 693

วิทยานิพนธ์ 3

12

(0-36-0)

 

PA 693

Thesis 3

 

 

 

รป 694

วิทยานิพนธ์ 4

12

(0-36-0)

 

PA 694

Thesis 4

 

 

หมายเหตุ : รายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตสะสมของหลักสูตร

 

 

 

1. รายวิชาภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

 

2. รายวิชาที่ไม่ได้เป็นรายวิชาบังคับหรือวิชาเอกเลือกตามความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้เป็นการปรับความรู้พื้นฐาน

 

3. รายวิชาเสริมพื้นฐานสำหรับนักศึกษาที่จำเป็นต้องเรียน โดยไม่นับหน่วยกิตเพื่อปรับพื้นฐานเพิ่มเติมตามความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

4. การสอบประมวลความรู้

 

 

 2) แผน ก แบบ ก 2

ก.

รายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

(7)

หน่วยกิต

 

รป 501

ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติทางรัฐประศาสนศาสตร์

(3)

(2-3-5)

 

PA 501

Research Methodology and Statistics in Public Administration

 

 

 

รป 591

สัมมนา 1

(1)

(0-2-1)

 

PA 591

Seminar 1

 

 

 

รป 592

สัมมนา 2

(1)

(0-2-1)

 

PA 592

Seminar 2

 

 

 

รป 593

สัมมนา 3

(1)

(0-2-1)

 

PA 593

Seminar 3

 

 

 

รป 594

สัมมนา 4

(1)

(0-2-1)

 

PA 594

Seminar 4

 

 

ข.

หมวดวิชาบังคับ

15

หน่วยกิต

 

รป 511

องค์การและการจัดการสาธารณะ

3

(2-2-5)

 

PA 511

Organization and Public Management

 

 

 

รป 521

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

3

(2-2-5)

 

PA 521

Public Policyand Planning

 

 

 

รป 531

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

3

(2-2-5)

 

PA 531

Administration Human Capital

 

 

 

รป 541

แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์

3

(2-2-5)

 

PA 541

Concept and Theory in Public Administration

 

 

 

รป 551

การคลังและงบประมาณภาครัฐ

3

(2-2-5)

 

PA 551

Public Finance and Budgeting

 

 

ค.

หมวดวิชาเอกเลือก

9

หน่วยกิต

 

ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาเอกเลือกดังต่อไปนี้

 

รป 512

กฎหมายมหาชนเพื่อการบริหารสาธารณะ

3

(2-2-5)

 

PA 512

Public Law for Public Administration

 

 

 

รป 513

การบริหารโครงการสาธารณะ

3

(2-2-5)

 

PA 513

Public Project Administration

 

 

 

รป 542

การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ในองค์การภาครัฐ

3

(2-2-5)

 

PA 542

Strategic Management in Public Organization

 

 

 

รป 614

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการองค์การภาครัฐและเอกชนยุคดิจิทัล

3

(2-2-5)

 

PA 614

Information Systems for Administration and Management of Public and Private Digital Age

 

 

 

รป 615

เทคนิคการบริหารองค์การภาครัฐ

3

(2-2-5)

 

PA 615

Techniques in Public Administration

 

 

 

รป 661

การบริหารและการจัดการธุรกิจเพื่อสังคม

3

(2-2-5)

 

PA 661

Administration and Social Enterprise

 

 

 

รป 662

การบริหารและการจัดการกิจการระหว่างประเทศ

3

(2-2-5)

 

PA 662

International Affair Administration and Management

 

 

 

รป 663

การวิเคราะห์ข้อมูลทางรัฐประศาสนศาสตร์

3

(2-2-5)

 

PA 663

Analysis of Public Administration Data and Information

 

 

 หรือรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย โดยอยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ง.

วิทยานิพนธ์

12

หน่วยกิต

 

รป 691

วิทยานิพนธ์ 1

6

(0-18-0)

 

PA 691

Thesis 1

 

 

 

รป 692

วิทยานิพนธ์ 2

6

(0-18-0)

 

PA 692

Thesis 2

 

 

 

 

หมายเหตุ : รายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตสะสมของหลักสูตร

 

 

 

 

1. รายวิชาภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

 

 

2. รายวิชาที่ไม่ได้เป็นรายวิชาบังคับหรือวิชาเอกเลือกตามความเห็นชอบของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้เป็นการปรับความรู้พื้นฐาน

 

 

3. รายวิชาเสริมพื้นฐานสำหรับนักศึกษาที่จำเป็นต้องเรียน โดยไม่นับหน่วยกิตเพื่อปรับพื้นฐานเพิ่มเติมตามความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

4. การสอบประมวลความรู้

จ.

การสอบประมวลความรู้

 

 

 

        นักศึกษาปริญญาโทหลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 ให้อยู่ในเงื่อนไขและดุลยพินิจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรระดับปริญญาโทประจำสาขาวิชา ทั้งนี้ ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ไม่เกิน 6 ภาคการศึกษาปกติ ตั้งแต่ภาคการศึกษาแรกที่ลงทะเบียนเรียน โดยนับรวมภาคการศึกษา ที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา หรือถูกสั่งพักการศึกษา มิฉะนั้นจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ทั้งนี้จะต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ก่อนการสอบวิทยานิพนธ์

 

 3) แผน ข

ก.

รายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

(7)

หน่วยกิต

 

รป 501

ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติทางรัฐประศาสนศาสตร์

(3)

(2-3-5)

 

PA 501

Research Methodology and Statistics in Public Administration

 

 

 

รป 591

สัมมนา 1

(1)

(0-2-1)

 

PA 591

Seminar 1

 

 

 

รป 592

สัมมนา 2

(1)

(0-2-1)

 

PA 592

Seminar 2

 

 

 

รป 593

สัมมนา 3

(1)

(0-2-1)

 

PA 593

Seminar 3

 

 

 

รป 594

สัมมนา 4

(1)

(0-2-1)

 

PA 594

Seminar 4

 

 

ข.

หมวดวิชาบังคับ

15

หน่วยกิต

 

รป 511

องค์การและการจัดการสาธารณะ

3

(2-2-5)

 

PA 511

Organization and Public Management

 

 

 

รป 521

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

3

(2-2-5)

 

PA 521

Public Policy and Planning

 

 

 

รป 531

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

3

(2-2-5)

 

PA 531

Administration Human Capital

 

 

 

รป 541

แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์

3

(2-2-5)

 

PA 541

Concept and Theory in Public Administration

 

 

 

รป 551

การคลังและงบประมาณภาครัฐ

3

(2-2-5)

 

PA 551

Public Finance and Budgeting

 

 

ค.

หมวดวิชาเอกเลือก

15

หน่วยกิต

 

ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาเอกเลือกดังต่อไปนี้

 

รป 512

กฎหมายมหาชนเพื่อการบริหารสาธารณะ

3

(2-2-5)

 

PA 512

Public Law for Public Administration

 

 

 

รป 513

การบริหารโครงการสาธารณะ

3

(2-2-5)

 

PA 513

Public Project Administration

 

 

 

รป 542

การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ในองค์การภาครัฐ

3

(2-2-5)

 

PA 542

Strategic Management in Public Organization

 

 

 

รป 614

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการองค์การภาครัฐและเอกชนยุคดิจิทัล

3

(2-2-5)

 

PA 614

Information Systems for Administration and Management of Public and Private Digital Age

 

 

 

รป 615

เทคนิคการบริหารองค์การภาครัฐ

3

(2-2-5)

 

PA 615

Techniques in Public Administration

 

 

 

รป 661

การบริหารและการจัดการธุรกิจเพื่อสังคม

3

(2-2-5)

 

PA 661

Administration and Social Enterprise

 

 

 

รป 662

การบริหารและการจัดการกิจการระหว่างประเทศ

3

(2-2-5)

 

PA 662

International Affair Administration and Management

 

 

 

รป 663

การวิเคราะห์ข้อมูลทางรัฐประศาสนศาสตร์

3

(2-2-5)

 

PA 663

Analysis of Public Administration Data and Information

3

(2-2-5)

หรือรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย โดยอยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

 

 

 

ง.

หมวดวิชาการค้นคว้าอิสระ

6

หน่วยกิต

 

รป695

การค้นคว้าอิสระ

6

(0-18-0)

 

PA 695

Independent Study

 

 

 

หมายเหตุ : รายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตสะสมของหลักสูตร

 

 

 

 

1. รายวิชาภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

 

 

2. รายวิชาที่ไม่ได้เป็นรายวิชาบังคับหรือวิชาเอกเลือกตามความเห็นชอบของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้เป็นการปรับความรู้พื้นฐาน

 

 

3. รายวิชาเสริมพื้นฐานสำหรับนักศึกษาที่จำเป็นต้องเรียน โดยไม่นับหน่วยกิตเพื่อปรับพื้นฐานเพิ่มเติมตามความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

4. การสอบประมวลความรู้

จ.

การสอบประมวลความรู้

 

 

 

นักศึกษาปริญญาโทหลักสูตร แผน ข ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้โดยต้องสอบผ่านรายวิชาในระดับปริญญาโทตามหลักสูตรและแผนการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต โดยไม่นับรวมหน่วยกิตการค้นคว้าอิสระ และรายวิชาสัมมนาที่หลักสูตรกำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต และต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 3.00  การสอบประมวลความรู้ให้อยู่ในเงื่อนไขและดุลยพินิจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรระดับปริญญาโทประจำสาขาวิชา ทั้งนี้ ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ไม่เกิน 6 ภาคการศึกษาปกติ ตั้งแต่ภาคการศึกษาแรกที่ลงทะเบียนเรียน โดยนับรวมภาคการศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา หรือถูกสั่งพักการศึกษา มิฉะนั้นจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ทั้งนี้จะต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ก่อนการสอบการค้นคว้าอิสระ

 

 11แผนการศึกษา

  • แผน ก แบบ ก 1

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่1

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 501

ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติทางรัฐประศาสนศาสตร์

(3)

(2)

(3)

(5)

รป 591

สัมมนา 1

(1)

(0)

(2)

(1)

รป 691

วิทยานิพนธ์ 1

6

0

18

0

รวม

6

0

18

0

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 592

สัมมนา 2

(1)

(0)

(2)

(1)

รป 692

วิทยานิพนธ์ 2

6

0

18

0

รวม

6

0

18

0

 

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 593

สัมมนา 3

(1)

(0)

(2)

(1)

รป 693

วิทยานิพนธ์ 3

12

0

36

0

รวม

12

0

36

0

 

 

 

 

 

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 594

สัมมนา 4

(1)

(0)

(2)

(1)

รป 694

วิทยานิพนธ์ 4

12

0

36

0

รวม

12

0

36

0

หมายเหตุ : ( ) เป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตและประเมินผลการเรียนเป็นระบบ S และ U

  

  • แผน ก แบบ ก 2

ปีที่1  ภาคการศึกษาที่1

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 501

ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติทางรัฐประศาสนศาสตร์

(3)

(2)

(3)

(5)

รป 511

องค์การและการจัดการสาธารณะ

3

2

2

5

รป 521

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

3

2

2

5

รป 531

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

3

2

2

5

รป 591

สัมมนา 1

(1)

(0)

(2)

(1)

รวม

9

6

6

15

ปีที่ 1ภาคการศึกษาที่ 2

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 541

แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์

3

2

2

5

รป 551

การคลังและงบประมาณภาครัฐ

3

2

2

5

รป 592

สัมมนา 2

(1)

(0)

(2)

(1)

รป...

วิชาเอกเลือก

3

…....

….....

…...............

รป...

วิชาเอกเลือก

3

…....

….....

…...............

รวม

12

6

6

15

 

 

 

 

 

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 593

สัมมนา 3

(1)

(0)

(2)

(1)

รป...

วิชาเอกเลือก

3

.......

.......

.................

รป 691

วิทยานิพนธ์ 1

6

0

18

0

รวม

9

2

20

5

 

ปีที่2ภาคการศึกษาที่2

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 594

สัมมนา 4

(1)

(0)

(2)

(1)

รป 692

วิทยานิพนธ์2

6

0

18

0

รวม

6

0

18

0

หมายเหตุ : ( ) เป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตและประเมินผลการเรียนเป็นระบบ S และ U

  

  • แผน ข

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่1

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 501

ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติทางรัฐประศาสนศาสตร์

(3)

(2)

(3)

(5)

รป 511

องค์การและการจัดการสาธารณะ

3

2

2

5

รป 521

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

3

2

2

5

รป 531

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

3

2

2

5

รป 591

สัมมนา 1

(1)

(0)

(2)

(1)

รวม

9

6

6

15

 

 

 

 

 

ปีที่ 1ภาคการศึกษาที่ 2

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 541

แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์

3

2

2

5

รป 551

การคลังและงบประมาณภาครัฐ

3

2

2

5

รป 592

สัมมนา 2

(1)

(0)

(2)

(1)

รป...

วิชาเอกเลือก

3

…....

….....

…...............

รป...

วิชาเอกเลือก

3

…....

….....

…...............

รวม

12

6

6

15

 

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 593

สัมมนา 3

(1)

(0)

(2)

(1)

รป...

วิชาเอกเลือก

3

…....

….....

…...............

รป...

วิชาเอกเลือก

3

…....

….....

…...............

รป...

วิชาเอกเลือก

3

…....

….....

…...............

รวม

9

…....

….....

…...............

ปีที่2 ภาคการศึกษาที่2

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

รป 594

สัมมนา 4

(1)

(0)

(2)

(1)

รป 695

การค้นคว้าอิสระ

6

0

18

0

รวม

6

0

18

0

หมายเหตุ : ( ) เป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตและประเมินผลการเรียนเป็นระบบ S และ U

12.ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำวิจัย

  • กำหนดให้ส่งโครงร่างวิทยานิพนธ์ภายในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2
  • กำหนดให้มีการรายงานความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์ทุกภาคการศึกษาที่ลงทะเบียน
  • กำหนดระยะเวลาดำเนินงานวิจัยให้เสร็จสิ้นภายใน 2 ปีการศึกษา ทั้งนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2560 
  • ให้นักศึกษาดำเนินกิจกรรมการวิจัยตามโจทย์ที่สนใจ ภายใต้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ นำเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบรายงานความก้าวหน้าหรือเล่มวิทยานิพนธ์

13. ค่าธรรมเนียมการศึกษา  ค่าธรรมเนียมเหมาจ่าย เทอมละ 30,000 บาท จำนวน 4 เทอม (2ปี) 

14. คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

  1. มีคุณสมบัติตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและระเบียบอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เกี่ยวข้องและบังคับใช้ในขณะนั้นหรือ
  2. สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยมีเกรดเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 2.00

กรณีผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่สมัครเข้าเรียนในหลักสูตรนี้ จะต้องสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีก่อนจึงจะมีสิทธิเข้าศึกษา

15. เงื่อนไขการสำเร็จการศึกษา

การสำเร็จการศึกษาให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ.2558

และหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยที่ประกาศใช้ในคณะนั้น

  • แผนการศึกษา แผน ก แบบ ก 1

เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

ที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานวิชาการ

  • แผนการศึกษา แผน ก แบบ ก 2

ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตรโดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า

พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ

ตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการ

โดยบทความที่นำเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว

  • แผนการศึกษา แผน ข

ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า

และสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียนและ/หรือปากเปล่าในสาขาวิชานั้น พร้อมทั้งเสนอรายงานการค้นคว้าอิสระ

และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง โดยเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ และรายงานการค้นคว้าอิสระ

หรือส่วนหนึ่งของรายงานการค้นคว้าอิสระ ต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้

 

 16. ชื่อ ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ประจำหลักสูตร/อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ที่

ตำแหน่งทางวิชาการ

ชื่อ –สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจาก

ปี พ.ศ.

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายธรรมพร ตันตรา

ปร.ด.

บริหารศาสตร์   

(การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2553

 

 

 

วท.ม. (เศรษฐศาสตร์สหกรณ์) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2540

 

 

 

ศศ.บ. (เศรษฐศาสตร์สหกรณ์) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2535

2

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายสุริยจรัส

เตชะตันมีนสกุล

ปร.ด

บริหารศาสตร์ 

(การบริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2554

 

 

 

วท.ม.

เศรษฐศาสตร์เกษตร

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2542

 

 

 

วท.บ.

เศรษฐศาสตร์สหกรณ์

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2539

 

 

 

รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร์

มหาวิทยาลัยสุโขทัย

ธรรมาธิราช

2553

3

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายเอกพิชญ์

ชินะข่าย

ปร.ด.

 

 

บริหารศาสตร์

(การศึกษาเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

 

 

2558

 

 

 

 

 

รป.ม.

รัฐประศาสนศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2548

 

 

 

ศศ.บ.

รัฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

2530

 17. สถานที่จัดการเรียนการสอน  วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่


ปรับปรุงข้อมูล 30/11/2564 18:44:28
, จำนวนการเข้าดู 450